รายได้ กระแสเงินสด และ ทรัพย์สิน
: กำไรทางบัญชีใช้ในรายงานการเงินในปัจจุบัน
: ความสัมพันธ์ระหว่างกำไร
กระแสเงินสดและทรัพย์สินจะถูกจัดโดยกำไรทางเศรษฐศาสตร์
: Economic Earning (EE) = net cash flow + change in MV of
net asset
(Economic Earning กำไรทางเศรษฐศาสตร์)
(MV of net asset สามารถวัดได้หลายค่าเนื่องจากการประมาณการ CF
ที่แตกต่างกันอาจมีทางเลือกในการวัดโดยการใช้ Cost
Method หรือวิธีอื่น
เพราะปัญหาของกำไรทางเศรษฐศาสตร์ คือ การพยากรณ์ CF นั่นคือ
กำไรไม่แน่นอน Rate ไม่แน่นอน ทำให้ Mv ที่คำนวณได้ไม่แน่นอน
ขึ้นอยู่กับการคาดการณ์กระแสเงินสดในอนาคตว่าจะได้เท่าไหร่
Proxies คือ ตัวแทน ของกำไรทางเศรษฐศาสตร์
กำไรที่สามารถไถ่คืนได้
กำไรที่สามารถจ่ายปันผลได้โดยไม่ทำให้มูลค่าของกิจการเปลี่ยนแปลง
กำไรที่ยั่งยืน
กำไรที่สามารถคงไว้ในอนาคตภายใต้เงินลงทุนในมูลค่าในปัจจุบัน
กำไรที่แน่นอน ถาวร คือ
กำไรที่จะได้รับตามปกติภายใต้สินทรัพย์ของ กิจการนั้น เท่ากับมูลค่าของสินทรัพย์
คูณ ด้วย Rate of Return
สรุป All earning พยายามจะรวมรูปแบบของ
Economic earning ซึ่งวัดค่าได้ยาก ต้องหาตัวแทนตามรูปแบบ
นักวิเคราะห์พยายามเชื่อมโยง ระหว่าง กำไร ทางบัญชี ภายใต้ แนวคิดของรายได้
โดยพยายามเชื่อมโยงรวมถึงความแตกต่าง
ในฐานะกำไรทางบัญชีจะวัดโดยใช้เกณฑ์คงค้าง
ซึ่งแสดงถึงความสามารถของกิจการพยายามที่จะให้กำไรประมาณการมูลค่าของกิจการในอนาคต
ภายใต้แนวคิดเกณฑ์คงค้าง กำไรทางบัญชีจะ
แสดงถึงการเลือกการรับรู้รายการที่เกิดขึ้นทั้งในงวดปัจจุบันของ CF
ที่ได้รับ และการเปลี่ยนแปลงใน Asset value การรับรู้รายการและการวัดค่าสินทรัพย์และหนี้สินจะเป็นผลมาจากหลักเกณฑ์ของ
เกณฑ์คงค้างของทางบัญชี
ซึ่งเกณฑ์คงค้างของทางการบัญชีจะทำให้เกิดความแตกต่างระหว่างกำไรที่รับรู้กับเงินสดที่ได้รับ
Dechow 1994 เปรียบเทียบรายการกำไรคงค้างกับ
CFO ซึ่งแสดงให้เห็นถึงกำไร
ตามเกณฑ์คงค้างจะวัดผลการดำเนินงานของกิจการซึ่งสะท้อนในมูลค่าหุ้นได้ดีกว่า นั่นคือ
กำไรตามเกณฑ์คงค้างสัมพันธ์กับมูลค่าหุ้น มากกว่า CFO
Sloan 1996 CFO
จะยั่งยืนมากกว่ารายการคงค้าง นั่นคือ CFO มีความยั่งยืน
หากเราได้ออกมาเป็นเงินสดจะได้แบบนี้เป็นประจำตลอดมากกว่ารายการคงค้างที่บางทีได้บ้างไม่ได้บ้างซึ่งหมายความว่า
ระดับของ CFO ที่ได้ขยายไปสู่อนาคตได้ดีกว่ารายการคงค้างซึ่งเรียกว่า
เป็นรายการชั่วคราวได้มากกว่า
โดยสรุปแล้ว
การทำกำไรตามเกณฑ์คงค้างมีเจตนาเพื่อที่จะส่งเสริมความสามารถในการพยากรณ์ Cash
flow ในอนาคต อย่างไรก็ดี จากหลักฐานที่มีอยู่
ชี้ให้เห็นว่าถึงแม้ตัวเลขกำไรจะเป็นตัวเลขที่ดีกว่า แต่ก็ไม่ได้หมายความว่ารายการ
Cash flow เป็นข้อมูลที่ไม่เกี่ยวข้อง Cash
flow มันก็สามารถช่วยให้ข้อมูลในเรื่องของคุณภาพของกำไรทางบัญชีได้
นั่นคือ CFO ช่วยในการประเมินหาคุณภาย
ของกำไรได้ซึ่งช่วยในการผ่อนคลายจุดอ่อนของกระบวนการรับรู้รายได้ตามเกณฑ์คงค้าง
กำไรทางบัญชีที่จะใช้ในการวิเคราะห์
ควรเป็นรายการที่เป็น Recurring Item (รายการที่เกิดขึ้น
ซ้ำ ๆ บ่อย ) เพราะว่า Economic Concepts (แนวคิดกำไรทางเศรษฐศาสตร์)
ควรจะดูส่วนที่เรียกว่าเป็น
กำไรที่แน่นอน
โดยสามารถใช้ FCF
มาคำนวณได้ ดังนั้นแล้วนักวิเคราะห์ควรจะแพ่งความสนใจ on
recurring income
เพราะฉะนั้น อะไรที่เป็น non
Recurring ก็ควรจะตัดออก
ตาม Model
ปกติจะหา Future Cash flow โดยใช้ NI พยากรณ์ cash flow แต่ Fairfield
บอกว่าหากใช้ NI แบบ Model
แบบนี้ แต่หากเขาแตกแยกบรรทัดเป็นรายบรรทัด คือมีหลายรายการ Before tax , Beforr interest,before Recurring
,before non recurring , Before extre คือแยกกำไรที่เป็นหลายๆ
อัน แบบนี้เรียกว่า components of …….
ถ้าหากแยกบรรทัดแบบนี้และนำบางบรรทัดมา
pferdic future cash flow แล้วมันจะดูดีกว่า financial statement
สามารถเพิ่มขีดความสามารถในการพยากรณ์หรือไม่
ผลของเขาชี้ให้เห็นว่า การประมาณการใน
1 ปี ของความสามารถในการทำกำไร (ความสามารถในการทำกำไรในที่นี้ใช้
แทน ROE คือ Proxies )
มันสามารถในการดีขึ้นในการแยก sepatate comnpnants ของกำไร(การแยกส่วนประกอบของกำไร)
เขาพบว่ารายการพิเศษและรายการที่เกิดขึ้นจากการหยุดดำเนินงานในสายงานการผลิตบางอย่าง
โดยรายการพวกนี้ไม่ได้มีประโยชน์ในการ predict
หรือว่าทำนาย ROE คือไม่ได้เป็นประโยชน์ที่ใช้ในการ
predict
แม้ว่าบางรายการที่ไม่ปกติและเกิดขึ้นไม่บ่อย
สรุป Fairfield
ที่เขาค้นพบก็ชี้ให้เห็นว่า การแยกกำไรที่ตรงนี้มันสามารถเพิ่ม
โอกาสในการพยากรณ์ได้ไหม โดยเฉพาะอย่างยิ่งรายการพิเศษ กำไรขาดทุนจากการหยุดดำเนินงาน
เพราะรายการพวกนี้ไม่ได้ช่วยในการ predict หรือว่าทำนาย
ROE สรุปง่าย ๆ ก็คือว่า เขาค้นพบว่า
สิ่งที่เขาพบเป็นที่มาว่าทำไมเราต้องแยกบรรทัด กำไร เป็นรายบรรทัดต่าง ๆ
กำไรทางบัญชี
การรับรู้รายได้และค่าใช้จ่าย
โดยปกติการรับรู้รายได้และค่าใช้จ่ายมักจะมีประเด็นอยู่
2 ประเด็นก็คือ
- Timing ปัญหาเรื่องเวลา เมื่อไหร่จะรับรู้ดี
- Measurement จะรับรู้เท่าไหร่ดี
ตาม SFAC5
รายได้จะถูกว่าค่าใน financial statement จะมีเงื่อนไข
2 ประการคือ
- กระบวนการที่จะได้รับต้องถือว่าเสร็จสิ้นแล้ว
- ต้องมั่นใจว่าจะได้รับชำระหนี้แน่ ๆ
โดยปกติจะมีการรับรู้รายได้เมื่อมีการขายในบางกรณีการรับรู้รายได้อาจจุรับรู้ก่อนที่จะส่งสินค้า
เช่น เวลาสมัครสมาชิกนิตยสาร จะต้องจ่ายเงินล่วงหน้า
จากนั้นก็จะได้รับเอกสารทีหลังเป็นรายเดือน
หรือการรับรู้รายได้บางทีก็มีการรับรู้ก่อน เช่น Credit card fees
การรับรู้รายได้อาจรับรู้ก่อนกระบวนการขายหรือส่งถ้ากระบวนการได้รับ complete คือ
ถ้ากระบวนการการขายสามารถวัดได้อย่างน่าเชื่อถือ เช่น ทอง
รับรู้ได้เลยถ้าสินค้านั้นมีสภาพคล่อง เพียงพอ ผลิตเสร็จก็สามารถรับรู้ได้เลย ดู
มาตรฐานฉบับ 49 สัญญาการก่อสร้าง มาตรฐาน 26 การรับรู้รายได้อสังหาริมทรัพย์ เพิ่มเติม
ประเด็นปัญหาในการรับรู้รายได้และค่าใช้จ่าย
บางกิจการอาจจะมีแรงจูงใจที่จะเลื่ยงการรับรู้รายได้
หรือ การชะลอการบันทึกค่าใช้จ่าย
การรับรู้รายได้อาจจะมีแรงจูงใจในการให้ยอดขายเป็นไปตามเป้าหมาย เพราะฉะนั้น
อาจจุให้สิทธิ์ หรือ
เอกสิทธิ์พิเศษในการที่อาจจะทำให้ เกิดการฝ่าฝืน การรับรู้รายการ
เป็นไปไม่ได้ที่บางครั้งถ้าหากมีแรงจูงใจที่ต้องการขายให้ถึงเป้าหมาย
ทำให้เกิดวิธีการกระทำบางอย่าง ที่ให้ยอดขายถึงเป้าหมาย
การรับรู้รายการ ship fee
เมื่อมีการเซ็นต์สัญญา เมื่อมีการให้ membership
(การเป็นสมาชิก) ไป เช่น ฟิตเนส, สนามกอล์ฟ,
จะต้องรับรู้ตามข้อตกลงในสัญญา (รับรู้ตลอดช่วงสัญญา)
มากว่าที่จะรับรู้ตอนเซ็นต์สัญญา
การจัดแบ่งรายการ นักวิเคราะห์จำนวนมากใช้
gross margin ในการประเมินค่าบริษัท
และจัดประเภทรายการออกจากกำไรจากการดำเนินงาน
Sofware Revenue Recognition ตัวอย่าง Software Company ตกลงที่จะขาย
Product 950$ ซึ่งรวมถึง Customer
support 150$ ต่อปี
การแยกรายการแบบนี้ได้เรียกว่า VSOE (การระบุแยกรายการ Customer
support หรือระบุราคาที่แยกต่างหาก)
ถ้าไม่มี VSOE 950$
ทั้งก้อนจะต้องทยอยรับรู้ทั้งก้อนตามสัญญา แต่ถ้าหากแยก 800
รับรู้รายได้ไปก่อน 150 ค่อยรับรู้ตามสัญญา
การวิเคราะห์รายการที่เป็น Non
recurring Item วิเคราะห์ได้จาก
หมายเหตุประกอบงบการเงิน MD&A 56-1 จะบอกถึงการรับรู้รายได้อะไรบ้างที่ผิดปกติ
ปกติต้องใช้ข้อมูลจากสิ่งเหล่านี้มาปรับปรุงการวัดค่าความสามารถในการทำกำไร
ของกิจการ
ปัจจุบันนักบัญชีมักจะตกแต่งบัญชีโดยใช้ตัวเลข
ตกแต่งกำไร พฤติกรรมของการตกแต่งกำไร เรียกว่า Earning management (การจัดการกำไรหรือการตกแต่งกำไร)
ซึ่งประกอบไปด้วย
-
การจัดประเภทข่าวดีและข่าวร้าย
-
การทำให้กำไรสม่ำเสมอ
-
ล้างบาง
-
การเปลี่ยนแปลงบัญชี
การรายงานข่าวดี
เป็นส่วนหนึ่งของกำไรตามปกติและมักจะตัดข่าวร้ายเป็นประเภทพิเศษ
การทำกำไรให้ราบเรียบสม่ำเสมอ
Elliott and philbick 1990
ได้ตรวจสอบผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงรายการบัญชีที่มีต่อความสามารถในการพยากรณ์กำไร
ค้นพบว่านักวิเคราะห์จะพยากรณ์ได้ยากขึ้น ในปีที่มีการเปลี่ยนแปลงทางการบัญชี
เมื่อมีการตกแต่งกำไรจะทำให้มีปัญหาต่อคุณภาพของกำไร
การเลือกใช้วิธีการบัญชีที่ทำให้
รายได้สูงกว่าความเป็นจริง
ชี้ให้เห็นถึงการรายงานกำไร
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น