การที่เราเห็นการเปลี่ยนแปลงในอดีต
ทำให้สามารถพยากรณ์การเปลี่ยนแปลงในอนาคตได้
ทฤษฎีทางการบัญชีแบ่งเป็น 3 ยุค
1.
Classical
approach งานวิจัยตั้งแต่ช่วงต้น ๆ จนถึงปี 1960s (
1960-1969) Mid กลางปีคือ 1965 พยามพัฒนาหาว่างบการเงินหรือการบัญชีควรจะแสดงข้อมูลอย่างไรจึงจะเหมาะสม
2.
Market
– based accounting research
- มีการหา empirical
Test มากขึ้น (การทดสอบเชิงประจักษ์จากข้อมูล)
จะมุ่งเน้นไปที่ปฏิกิริยาทางการตลาดที่มีต่อข้อมูลทางการบัญชีที่รายงานออกไป
- จะศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างกำไรทางการบัญชีกับผลตอบแทนของตลาด(
Market Return)ซึ่งอยู่ในบทบาทของข้อมูลทางการบัญชี
3.
Positive
approach (ทฤษฎีเชิงบวก) ต่างจาก
Market – based 2 ทาง
1. มุ่งเน้นศึกษาการตอบสนองของตลาดภายใต้ภาวะการต่าง
ๆ ที่มีผลต่อการบริหารของกิจการซึ่งส่งผลให้งบการเงินแตกต่างกันไปด้วย
การทดสอบPositive accounting
Theory (ทฤษฎีเชิงบวก)
1. management Compensations การบริหารจัดการ
2. Debt Covenants การฝ่าฝืนข้อตกลงเงื่อนไขของหนี้
3. Regulatory environment ผลมาจากภาวะแวดล้อมของผู้ออกกฎ
2. มุ่งเน้นศึกษาปฏิกิริยาของผู้บริหารที่มีต่อการตัดสินใจและวิธีการเลือกวิธีการทางการบัญชีว่ามีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างไร
ทำไมต้องรู้ว่าผลการวิจัยเป็นอย่างไร
1. ข้อมูลในรายงานทางการเงินที่ออกมาเปลี่ยนแปลงไปตามผลของงานวิจัยทางการบัญชี(งบการเงินที่ออกมาเป็นไปตามผลของงานวิจัย)
2. งานวิจัยทางการบัญชีทำให้มองได้อย่างลึกซึ้งถึงประโยชน์ของข้อมูลในงบการเงิน
Classical approach การศึกษางานวิจัยยุคที่
1 พบว่า
- Normative ควรทำในลักษณะปกติคือ
ควรจะเป็นอย่างนี้ แบบนี้
- กิจการควรมี True
Picture อย่างไร คือการลงบัญชีโดยการอ้างอิงจากหลักฐานที่มีอยู่
- Price ควรใช้ Current
Cost หรือ Replacement Cost หรือ
Historical Cost
- ในยุคนี้ยังไม่มีการทดสอบ ตรวจสอบ
เกี่ยวกับปฏิกิริยาของผู้ใช้ต่องบการเงิน ยังไม่มีใครทดสอบว่าปฏิกิริยาของผู้ใช้เป็นอย่างไร
- ใช้เทคนิค Ratioในการวิเคราะห์ราคาหุ้น
- ยังไม่มีการทดสอบใด ๆ
Market – based accounting research การศึกษางานวิจัยยุคที่ 2 พบว่า
- เกิดการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญของบทบาททางการบัญชีซึ่งมีผลกระทบต่องานวิจัยอย่างมาก
ๆ ให้กำเนิด
- Efficient Market hypothesis ( สมมติฐานด้านประสิทธิภาพของตลาด)ตลาดจะเป็นตลาดที่มีประสิทธิภาพถ้าราคาหลักทรัพย์นั้นถูกสะท้อนจากข้อมูลที่มีอยู่
ซึ่งข้อมูลที่มีอยู่มาจาก Set Information โดยการแบ่งข้อมูลออกเป็น 3 ระดับ
1.
ถ้าสะท้อนข้อมูลในอดีตแสดงว่าตลาดนั้นมีประสิทธิภาพในระดับ
Weak form
2
ถ้าประกาศกำไรแล้วมีผลต่อราคาตลาดแสดงว่าตลาดนั้นมีประสิทธิภาพในระดับ
Semi strong form
3
ถ้าราคาตลาดได้สะท้อนข้อมูลที่มีไว้แล้วสถานการณ์จะเป็นอย่างไรไม่มีผลต่อการกำหนดราคา
คือไม่สามารถที่จะทำกำไรผิดปกติได้แสดงว่าตลาดนั้นมีประสิทธิภาพในระดับ
Strong form
* ของประเทศไทยและต่างประเทศอยู่ในระดับ
Weak form และ Semistrong form แต่จากงานวิจัยต่างประเทศ
พบว่า บางฉบับ Weak formบางฉบับ Semistrong form ยังหาข้อสรุปไม่ได้แต่ตลาดบอกว่า Support Weak form กับ
Semistrong form
·
* อะไรก็ตามที่ยังไม่ได้มีการทดสอบเรียกว่า hypothesis
(สมมติฐาน)
·
* ถ้ามีการทดสอบแล้วเรียกว่า Theory (ทฤษฎี)
Modern
Portfolio Theory
·
CAPM ตัวแบบการกำหนดราคาหุ้น
อัตราผลตอบแทนของกิจการย่อมมีผลต่ออัตราผลตอบแทนของตลาด
ความเสี่ยงย่อมมีผลต่อค่าชดเชยความเสี่ยง
·
CAPM กับ MPT มีผลต่อการพัฒนาทฤษฎีทางการบัญชีโดย
CAPM กับ MPT ไปช่วยในการวัดปฎิกริยาในการวัด
Market Return กับ Earnings ซึ่งเรียกงานวิจัยในกลุ่มนี้ว่า
Market based Research โดยได้แบ่งงานวิจัยออกเป็น 3 กลุ่มหลัก
1. Test EMH กับ
Classical approach
2. Test of the Information
Content คุณค่าของข้อมูลทางการบัญชี
3. Tast Earning /Return
Relationship ความสัมพันธ์ระหว่างกำไรกับผลตอบแทน
จากการทดสอบพบว่า
กลุ่มที่ 1 สมัยก่อนเชื่อว่า Value จากการ Test of EMH
Vs Mechanistic hypothesis จะมีมูลค่าของกิจการตามหน้างบการเงิน งบการเงินมาอย่างไรก็ทำอย่างนั้น
ไม่มีความรู้ไม่รู้จะปรับอย่างไร
กลุ่มที่ 2 EMS ยึดว่าราคาต้องสะท้อนมาจากราคาตลาดที่มีประสิทธิภาพ
(Information available) ตามหลัก EMH ซึ่ง
Information EMH แบ่งเป็น 3 Class แต่ตามมาตรฐานการบัญชียึดตาม
Financial Statement
กลุ่มที่ 3 ผลจากการทดสอบพบว่าราคาหุ้นต้องมีการ Increase or decrease
* ทางการบัญชีเชื่อว่าถ้าวิธีการบัญชีเปลี่ยน
Stock Price ก็ควรเปลี่ยน แต่ EMH ไม่เห็นด้วย
Ball and Brown Study (1968)ได้ศึกษา
·
ศึกษาถึงความสัมพันธ์ของ
Price มีความสัมพันธ์กับ Earning อย่างไร
(Price เทียบกัน 2 งวดเรียกว่า Return)พบว่าถ้ามี Good new ( ข่าวดี ) เกี่ยวกับ Accounting Earning แสดงว่ามีอัตราผลตอบแทนที่เกินปกติในทางบวกถือว่าเป็นข่าวดี
แต่ ในทางตรงข้ามถ้า Bad new ( ข่าวร้าย ) ก็จะ negative Return
Information
Content Studies จะวัดเกี่ยวกับ
* Market Reaction กับ Earnings ที่ประกาศ ถ้ามีการประกาศกำไร
Price ต้องขยับ Abnormal Returnsหมายความว่า
Return เกิดการแกว่งตัวผิดปกติและการแกว่งตัวสอดคล้องกับผลกำไร
·
* accounting Information มีผลต่อการประกาศกำไรซึ่งเหวี่ยงไปจาก
Expected Earning
Relationship Between
Earnings and Stock
Return
การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างEarnings and Stock โดยได้ทำการศึกษา 3 ตัว
1.
Accounting Variable ตัวแปรทางการบัญชี
2.
Market Variable ตัวแปรด้านตลาด
3.
Test of the Relationship between the good
news / bad news parameter and abnormal return
ตัวแปรข่าวดี ข่าวร้าย กับ Abnormal
return
Positive Accounting
Research สำหรับใช้อธิบายและ Predict
- เป็นกลุ่มการวิจัยช่วงสุดท้ายคือช่วงปฏิบัติ
- เป็นการอธิบายวิธีการปฏิบัติทางการบัญชีว่ามีผลต่องบการเงินอย่างไร
- Positive Accounting
Theory มีไว้เพื่ออธิบายพฤติกรรมของฝ่ายบริหารคือพฤติกรรมที่ทำแล้วมีผลต่อรายงานทางการบัญชี
ไม่ใช่พฤติกรรมทั่วไป
ทำไมผู้บริหารจึงมีพฤติกรรมต่าง
ๆ ด้วย Positive Accounting Theory จึงเริ่มด้วยการอธิบายถึง
บุคคล 2 กลุ่ม คือ ตัวการ(Agent) กับ
ตัวแทน (Possible)
·
ทฤษฎีนี้เชื่อว่าคนมีแรงจูงใจเพื่อผลประโยชน์ของตัวเองจริงไหม?
·
ผู้บริหารจะพยามทำให้มูลค่าของกิจการเพิ่มมากขึ้นตามผลประโยชน์ของตัวเอง
·
บทบาทตัวเลขทางการบัญชีจะมาเป็นตัวที่ใช้วัดความสัมพันธ์ระหว่าง
ตัวการ กับ ตัวแทน ซึ่งมีความสำคัญที่เรียกว่า
contracting process
Positive Theory โดยปกติจะTest 3 กลุ่ม ใหญ่ ๆ
1. Bonus Plan hypothesis ถ้ากำไรสูงก็จะดันกำไรให้ต่ำลง ถ้ากำไรต่ำลงก็จะดันกำไรให้สูงขึ้นเพื่อ ฺBonus
หรือถ้าต่ำมาก ๆ ก็จะล้างบาง
2. มีการกำหนดทิศทางให้ผู้กู้โดยการกำหนดสัดส่วน
·
3. Political Process hypothesis พูดถึงโดยปกติในอุตสาหกรรมบางอุตสาหกรรมมีกำไรค่อนข้างมากกิจการพวกนี้มักจะถูกจับตาโดยทางการ
ถ้าทำกำไรมากเกินไป จะถูกตั้งคำถามว่า ทำไมถึงมีกำไรมากขนาดนี้ ต้องมีการกระจายรายได้
โดยเครื่องมือที่กระจายรายได้คือภาษี
Empirical Research มีการประเมินถึงจุดที่สำคัญถึงสิ่งที่ค้นพบจากงานวิจัย กึ่งกลางระหว่างวิวัฒนาการจากผลการวิจัยพบว่า
·
แสดงให้เห็นว่ามีข้อบกพร่องและจุดอ่อนของ
Market bats Research มุมมองของนักบัญชีเน้นแต่ Bata ที่ออกมาว่า Sing ไม่ Sing โดยค่า
Sic ดูจาก ค่า P-Value ซึ่งจริง ๆ แล้วอาจมีผลน้อยมากอาจแค่
10% ควรทำเรื่องอื่นที่มีผลต่อการตัดสินใจทางเศรษฐกิจมากกว่านี้
·
Lev and Bemarad งานวิจัยควรมีการวิเคราะห์ให้มากขึ้นควรเน้นในเรื่องของ
Valuation ให้มากขึ้น ควร Ran ที่
Individual ให้มากขึ้นแทนที่จะ Ran ที่
Portfolio basic ในเรื่องการวัด Earning / Return
·
ค่าเฉลี่ยกำไรในเวลาที่ตรวจสอบควรใช้
Longer time horizons
·
ส่วนประกอบของ
Earning ที่ใช้ในการทำวิจัยควรจะรวม Adjustments ด้วยเพราะจะทำให้การวิเคราะห์มีความหมายขึ้นเน้นรายการ Noncoring ด้วย
Market Anomalies or Market
Abnormal
·
บางทีก็เกิดรายการผิดปกติเกิดขึ้นระหว่าง
Earning / Return
·
เรียกปรากฏการณ์นี้ว่าJanuary
Effect เช่นปกติแล้วเดือนมกราคมหุ้นจะขึ้นเป็นเรื่องของธรรมชาติ
·
Size Effect พวกกิจการขนดเล็กย่อมมีผลตอบแทนที่ต่ำกว่า
กิจการขนาดใหญ่ทั้ง ๆ ที่กำไรของบริษัทขนาดเล็กทำกำไรได้ดีกว่า แต่คนไม่ชอบอาจเป็นเพราะนักลงทุนชอบ
Size Effect ใหญ่ๆ เพราะหมายถึง Fundamental
·
กลุ่มที่มี
P/E Ratio ต่ำ ๆ ก็มีแนวโน้มที่ Earning / Return มีความสัมพันธ์ต่ำคือต่ำกว่าราคาตลาด
DeBondt and Thaler (1985) พบว่าถ้าราคาหุ้นของบริษัทที่ผลการดำเนินงานไม่ดี
5 ปี ก็จะอัตราผลตอบแทนที่ต่ำไปอีก
3 ปี
เมื่อเทียบกับบริษัทที่มีผลการดำเนินงานดี
Lakonishok et al (1994) เมื่อกิจการมีกำไรต่ำลง
ราคาก็จะต่ำลงอย่างรวดเร็ว อัตราส่วน book to market จะสูง
ทิศทางของงานวิจัยในปัจจุบัน
จะพูดถึงหลักการของมูลค่ากิจการ
การวิเคราะห์ fundamental และมุ่งเน้นถึงพฤติกรรมของหุ้นต่อการตอบสนองกำไร จะมองเน้นการพยากรณ์มากขึ้น อาจจะมีงานวิจัยบน ERC
มากขึ้น ราคาสามารถใช้ในการพยากรณ์กำไรในอนาคต
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น