Financial Ratio ใช้เป็นการเปรียบเทียบ Risk and Return เพื่อช่วยให้
Investors และ Creditor นำไปใช้ประกอบการตัดสินใจ
Shot – term เจ้าหนี้ระยะสั้นจะสนใจอัตราส่วนวัดสภาพคล่อง (Liquidity)
1.
Long
– term เจ้าหนี้ระยะยาวสนใจอัตราส่วนความสามารถในการบริหารหนี้สิน/การอยู่ได้ระยะยาว (solvency)
2.
Investors
สนใจอัตราส่วนความสามารถในการทำกำไร/การทำกำไรในระยะยาว(Earning
Power)
* ธุรกิจควรมีการใช้
Ratio เป็นชุด ๆ ตาม 1 2 3 ตามความเหมาะสมเพื่อป้องกันการต่อการตัดสินใจที่ผิดพลาด
วิเคราะห์ Ratio แบ่งเป็น 4 Ratio
1. Activity Analysis การวัดประสิทธิภาพในการดำเนินงาน
พูดถึงความสามารถในการใช้ทรัพย์สิน/
การบริหารทรัพย์สิน(ยิ่งหมุนมากยิ่งดี)
2. Liquidity Analysis อัตราส่วนวัดสภาพคล่อง
หรือ CCC ( Cash Cycle) โดย Timing เริ่มตั้งแต่
- Day Inventory ได้มาจาก
Inventory Turnover (ยิ่งสั้นยิ่งดี)
- Day Receivables ได้มาจาก
Receivables Turnover (ยิ่งสั้นยิ่งดี)
- Day Payables ได้มาจาก
Payables Turnover (ยิ่งนานยิ่งดี)
การวิเคราะห์ Inventory ควรแยกวิเคราะห์เพราะ Inventory แยกInventory ประกอบด้วย
- Raw Material วัตถุดิบทางตรง
- Work in Process งานระหว่างทำ
- Finished Goods สินค้าสำเร็จรูป
3. Long – term debt and Solvency Analysis อัตราส่วนวัดภาระหนี้สิน
4. Profitability Analysis อัตราส่วนวัดความสามารถในการทำกำไรกลุ่มที่ว่าด้วย
Return on Sale
- Ratio สามารถเปรียบเทียบกันได้เพราะมีการตัดขนาดของกิจการออกไปแล้ว
(Common Size)
- การเอาค่าเฉลี่ยอุตสาหกรรมมาเปรียบกันไม่ได้หมายความว่าถูกต้อง
ต้องดูความเหมาะสมและควรมีคำอธิบายเหตุผลเพิ่มเติมว่าดีสำหรับใคร ไม่ดีสำหรับใคร
(ขึ้นอยู่กับว่าวิเคราะห์เพื่อใคร ทำเพื่อใคร) เช่น อัตราส่วนวัดสภาพคล่อง ผลการวิเคราะห์ปรากฏว่ากิจการมีสภาพคล่องดี ผลการวิเคราะห์นี้อาจจะดีสำหรับเจ้าหนี้แต่ไม่ดีสำหรับผู้ลงทุน
เพราะผู้ลงทุนจะมองว่าทำไมกิจการไม่เอาเงินไปลงทุนอย่างอื่นที่จะทำให้เกิดรายได้
Timing and Window
dressing การตกแต่งตัวเลขจากการใช้งบ
Ratio สามารถตกแต่งตัวเลขได้ง่าย เช่นการตัดหนี้สินหมุนเวียนในรอบระยะเวลาบัญชีเพื่อต้องการให้ Current Ratio
มีสภาพคล่องสูง
An Integrated
Analysis การวิเคราะห์ในภาพรวม
นักวิเคราะห์ Ratio ต้องการความสำคัญในภาพรวมทางด้าน Economic
·
เมื่อมียอดขายเพิ่ม Ratio ก็ควรเพิ่มตามสัดส่วน แต่ต้องเพิ่มด้วยความระมัดระวัง
ในขณะเดียวกันยอดขายสูงก็ควรมี Working Cap สูงตามด้วย
·
Ratio
หนึ่ง ๆ อาจจะเป็นส่วนประกอบของ Ratio อื่น ๆ
ด้วย เช่น ROA = Profit Margin * Assets Turnover
·
ในภาวะที่เศรษฐกิจไม่ดีควรให้ Fix Cost ต่ำ ๆ
·
ผู้ลงทุนสนใจกลุ่ม ROA , ROE ผู้ลงทุนย่อมต้องการผลตอบแทนที่มากกว่าอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ภายใต้ความเสี่ยงที่สูงขึ้น
ถ้า Assets Turnover ต่ำ
อาจเป็นเพราะ
1.ขายต่ำไป
2. Assets สูงไป
เนื่องจากขายเก็บเงินไมได้ หรือสินค้าค้างสต๊อก
ถ้า Goss Profit ต่ำ อาจเป็นเพราะ
1. ยอดขายต่ำตามภาวะเศรษฐกิจที่ควบคุมไม่ได้
2. ต้นทุนสูงขึ้นดังนั้นควรลด Fix Cost ให้ต่ำลง ภายใต้สถานการณ์ที่ไม่ดีควรเลือก VC สูง FC ต่ำ
หรือในภาวะที่เศรษฐกิจไม่ดีควรมีการปรับปรุงโครงสร้างเงินทุนใหม่
·
การก่อหนี้เยอะ ROE จะสูงขึ้น
·
กิจการยิ่งกู้ยืมยิ่งได้เปรียบเพราะได้กินส่วนต่างของผลตอบแทนจากการลงทุนในธุรกิจนั้น
อัตราส่วนการกู้ยืมควร
60: 40 อยู่ในสัดส่วนที่เหมาะสม
·
การวิเคราะห์ ROE ทำให้สามารถแตก
Return ได้ปัญหาอยู่ที่ไหน อยู่ที่ความสามารถในการทำกำไรหรือความสามารถในการใช้สินทรัพย์
·
ถ้า Assets Turnover ต่ำในขณะที่
Ratio ตัวอื่น ๆ สูงเกิดจากAssets สูงต้องไปดูที่
Sale อาจเป็นเพราะกิจการมีสินทรัพย์ไม่ Mat กับ ยอดขาย
Economic Characteristics and Strategies
·
กิจการที่ใช้ Strategies แตกต่างกันย่อมมีผลต่ออัตราส่วนทางการเงิน
บางกิจการอาจใช้
- Cost Leader สำหรับกิจการที่ต้องการต้นทุนต่ำ
ๆ ยอดขายสูง ๆ ซึ่งทำให้ high Turnover Low Profit margin
- Product differentiated ซึ่งทำให้
Low Turnover high Profit margin
Competitive Factors แบ่งเป็น 3 แบบ ดังนี้
1.
Monopoly
ปัจจัยทางด้านการแข่งขัน ภาวการณ์แข่งขันผูกขาดจะHigh Capital
Intensity High Profit Margin
2.
Oligopoly
ภาวการณ์แข่งขันกึ่งผูกขาดMedium Capital Intensity
Profit Margin and Turnover จะรวมกัน
3.
Pure
Competition ภาวะการแข่งขันสมบูรณ์จะ Low Capital
Intensity High Profit Margin
การจัดประเภท Ratio ควรเรียงลำดับตามนี้
1 Profitability Ratio อัตราส่วนวัดความสามารถในการทำกำไร
2. Followed by Debt อัตราส่วนวัดความสามารถในการบริหารหนี้สิน
3. Liquidity Ratio อัตราส่วนสภาพคล่อง
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น